ซ่อมคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ บางกะปิ
www.becomz.com

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

คีย์ลัดบน Timeline



HOT KEY

  • Print
  • Email
Category: Uncategorised
Published on Monday, 02 September 2013 23:32
Written by Nualnada S.
Hits: 127
คีย์ลัด สามารถอำนวยความสดวกในขณะทำแอนนิเมชั่น แบ่งออกเป็นกลุ่ม ดังนี้
1. คีย์ลัดบน Timeline
2. คีย์ลัด เกี่ยวกับ Symbol และ Shape
3. คีย์ลัด เกี่ยวกับพาเนล
4. คีย์ลัดอื่น ๆ

ตัวอย่างที่ 11 Pendulum

  • Print
  • Email
Category: Uncategorised
Published on Monday, 02 September 2013 22:12
Written by Nualnada S.
Hits: 189
แนวคิด แสดงการแกว่งตัวของวัตถุ เคลื่อนที่ตามจุดหมุน
โจทย์ การแก่วงตัวของลูกตุ้ม และใส่เสียงเมื่อลูกตุ้มกระทบกัน
วิธีการ
  1. เปิดโปรแกรม Flash CS5.5 > Create New > ActionScript 2.0
  2. บันทึกแฟ้มข้อมูลชื่อ pendulum
  3. ที่ Layer 1 ให้ชื่อว่า BG  ขีดเส้นตรง 1 เส้น เพื่อกำหนดเป็นเส้นแขวนลูกตุ้ม และกำหนดจุดที่เป็นตำแหน่งแขวนวัตถุ ในที่นี้ จะกำหนดแสดงวัตถุเป็นลูกตุ้ม 5 ลูก ตัวที่จะแกว่งคือลูกทางซ้ายและทางขวา นอกนั้นอยู่กับที่จากนั้น lock Layer BG
    • วิธีการ insert>new symbol>graphic กำหนดชื่อ Object ดังภาพ ไว้ใน LIBRARY                     
    • ที่ Scene 1 ณ เฟรม 1 ของ Layer BG ลากเส้นกำหนดเป็นเส้นแขวนลูกตุ้ม และลาก object จาก LIBRARY มาวาง ณ ที่เป็นตำแหน่งแขวนวัตถุ ที่จะให้เป็นตัวไม่เคลื่อนที่ จากนั้น lock Layer BG
  4. เพิ่ม Layer ใหม่เหนือ Layer BG ให้ชื่อ FIX_R โดยใช้แนวคิดว่า หากลูกตุ้มซ้ายเคลื่อนที่ ลูกตุ้มขวาจะคงที่ ใน FIX_R จึงลาก object จาก LIBRARY มาวาง ทางขวา จากนั้น lock Layer FIX_R
  5. เพิ่ม Layer ใหม่เหนือ Layer FIX_R ให้ชื่อ SWING_L ลาก object จาก LIBRARY มาวาง ทางซ้าย เลือกวัตถุที่ลากมาใหม่นี้ กด Ctrl+C
  6. เพิ่ม Layer ใหม่เหนือ Layer SWING_Lให้ชื่อ FIX_L กด Ctrl+Shift+V
  7. ปลด Lock FIX_R เลือกวัตถุ กด Ctrl+C
  8. เพิ่ม Layer ใหม่เหนือ Layer FIX_Lให้ชื่อ SWING_R กด Ctrl+Shift+V
  9. Lock FIX_L และ FIX_R
  10. ที่ SWING_L ต้องปรับ จุดควบคุมการแกว่ง
  11. การเลื่อนจุดควบคุมการแกว่งเป็นไปตามนี้
  12. ผลลัพธ์ที่ได้                                             
  13. ณ เฟรมที่ 40 ของ BG กด F5
  14. ณ เฟรมที่ 20 ของ FIX_R กด F5
  15. ณ เฟรมที่ 10 และ 20 ของ SWING_L กด F6
  16. ณ เฟรมที่ 10 ของ SWING_L หมุนวัตถุ
  17. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่สีเทา ของ SWING_L ระหว่าง เฟรม 1-10 และ 11-20 เลือก Insert Classic Tween
  18. Lock SWING_L
  19. คลิกขวา ณ เฟรมที่ 1 ของ FIX_L และ SWING_R เลือก Cut Frames
  20. คลิกขวา ณ เฟรมที่ 20 ของ FIX_L และ SWING_R เลือก Paste Frames
  21. ณ เฟรมที่ 40 ของ FIX_L กด F5
  22. ณ เฟรมที่ 20 ของ SWING_R ปรับจุดควบคุมการแกว่ง
  23. ณ เฟรมที่ 30 และ 40 ของ SWING_R กด F6
  24. ณ เฟรมที่ 30 ของ SWING_R หมุนวัตถุ
  25. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่สีเทา ของ SWING_R ระหว่าง เฟรม 20-30 และ 31-40 เลือก Insert Classic Tween
  26. กด Ctrl+Enter ดูผล
  27. Import คลิปเสียงมาวางที่ LIBRARY
  28. เพิ่ม Layer Sound เหนือ BG
  29. ณ เฟรมที่ 20 และ 40 ของ Layer Sound กด F6
  30. ณ เฟรมที่ 20 และ 40 ของ Layer Sound ลาก คลิปเสียงมาวาง
  31. กด Ctrl+Enter ดูผล
  32. ในที่นี้ปรับตำแหน่งวัตถุใน BG  ณ เฟรมที่ 19 21 39 และ 40 ให้เคลื่อนที่เล็กน้อย เพื่อให้การเคลื่อนที่ดูสมจริง
การประยุกต์ ในงานที่ต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ในลักษณะแกว่งตัวไปมา

ตัวอย่างที่ 10 Screen Saver

  • Print
  • Email
Category: Uncategorised
Published on Monday, 02 September 2013 21:24
Written by Nualnada S.
Hits: 159
แนวคิด แสดงภาพเปลี่ยนไปมาบนพื้นที่ที่กำหนด ที่ไม่ใช่รูปทรงสี่เหลี่ยมหรือวงกลม และไม่ได้วางบนระนาบปกติ ซึ่งความสามารถของโปรแกรม Flash จะอำนวยความสะดวกในการดึง Shape ให้เป็นไปตามต้องการ
โจทย์ การเปลี่ยนภาพหน้าจอคอมพิวเตอร์แบบ Screen Saver
วิธีการ
  1. เปิดโปรแกรม Flash CS5.5 > Create New > ActionScript 2.0
  2. บันทึกแฟ้มข้อมูลชื่อ screen_saver
  3. ปรับขนาด Stage เป็น 550*400
  4. ที่ Layer 1 ให้ชื่อว่า BG วาดสี่เหลี่ยมผืนผ้า เพื่อกำหนดเป็นฉากหลัง และ lock Layer BG
  5. เพิ่ม Layer ใหม่ เหนือ Layer BG ให้ชื่อ Computer
    • File>  Import to stage ระบุชื่อ และที่อยู่ของภาพ ในที่นี้เลือกภาพนี้
  6. เพิ่ม Layer ใหม่ เหนือ Layer Computer ให้ชื่อ Image 1
  7. ณ เฟรม 1 ของ Layer Image 1 ใช้เครื่องมือสี่เหลี่ยม ไม่มีเส้นกรอบ เลือกสีตามความพอใจ วาดรูป ทับหน้าจอ ตามตัวอย่าง
  8. ณ เฟรม 1 ของ Layer Image 1 คลิกเลือกภาพสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับจอภาพของภาพคอมพิวเตอร์ใน Layer Computer แล้วกด Ctrl+X
  9. ณ เฟรม 1 ของ Layer Computer กด Ctrl+B และ Ctrl+Shif+V  จะได้ผลลัพธ์เป็นภาพสี่เหลี่ยมทับอยู่บนหน้าจอในภาพ พอดี
  10. ณ เฟรม 1 ของ Layer Computer คลิกเลือกภาพสี่เหลี่ยมที่วางลงไป กด Delete จะพบลักษณะ ดังนี้
  11. Lock Layer Computer
  12. ที่ Scene 1 สร้าง Movie Clip โดย Insert>New Symbol ให้ชื่อ Pic 1 กำหนดเป็น Movie Clip คลิก OK
  13. การทำงานจะเข้าสู่ หน้าต่าง การสร้าง Movie Clip Pic1
  14. ณ เฟรม 1 Layer 1 เปลี่ยนชื่อเป็น Image
  15. เพิ่ม Layer ใหม่เหนือ Layer Image ชื่อ mask
  16. ณ เฟรม 1 Layer mask กด Ctrl+V ได้ภาพสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับจอภาพของภาพคอมพิวเตอร์
  17. คลิกเลือกภาพสี่เหลี่ยม ดูขนาดที่ PROPERTIES ในที่นี้ ได้                                     
  18. เราจะใช้ขนาดที่ได้เป็นเกณฑ์ในการย่อภาพที่จะนำไปเป็น Screen saver
  19. ณ เฟรม 1 ของ Layer Image
    • Click and drag ภาพจาก LIBRARIES มาวาง
    • คลิกที่ภาพปรับขนาดที่PROPERTIES  ดังนี้                                                       
  20. คลิกขวาที่ชื่อ  Layer mask เลือกคำสั่ง Mask ได้ผลดังนี้
  21. สร้าง Symbol Pic 2 Pic 3 Pic 4 ตามวิธีการข้อ 12 – ข้อ 20
  22. กลับมาทำงานที่ Scene 1
  23. ณ เฟรม 1 Layer Image 1 ลาก Pic 1 จาก LIBRARY มาวางทับที่หน้าจอในภาพ
  24. ณ เฟรม 100 ของ Layer BG และ Layer Computer กด F5
  25. ณ เฟรม 10 20 และ 30 ของ Layer Image 1 กด F6
  26. ณ เฟรม 1 ของ Layer Image 1 คลิกเลือกที่ภาพ ปรับค่า Alpha ของCOLOR EFFECT เป็น 0
  27. ณ เฟรม 30 ของ Layer Image คลิกเลือกที่ภาพ ปรับค่า Alpha ของCOLOR EFFECT เป็น 0
  28. คลิกขวาที่บริเวณสีเทา ระหว่าง เฟรมที่ 1 – 10 ของ Layer Image เลือก Insert Classic Tween
  29. เพิ่ม Layer Image 2 เหนือ Layer Image 1
  30. ณ เฟรม 10 ของ Layer Image 2 กด F6
  31. ณ เฟรม 10 Layer Image 2 ลาก Pic 2 จาก LIBRARY มาวางทับที่หน้าจอในภาพ
  32. ณ เฟรม 20 30 และ 40 ของ Layer Image 2 กด F6
  33. ณ เฟรม 10 ของ Layer Image 2 คลิกเลือกที่ภาพ ปรับค่า Alpha ของCOLOR EFFECT เป็น 0
  34. ณ เฟรม 40 ของ Layer Image 2 คลิกเลือกที่ภาพ ปรับค่า Alpha ของCOLOR EFFECT เป็น 0
  35. คลิกขวาที่บริเวณสีเทา ระหว่าง เฟรมที่ 10 – 20 ของ Layer Image เลือก Insert Classic Tween
  36. ใช้ แนวคิดข้างต้น สร้าง Layer Image 3 และ Image 4 วางภาพ Pic 3 และ Pic 4 และปรับค่า COLOR EFFECT สร้าง Classic Tween จะได้ Time line ลักษณะดังนี้
  37. กด Ctrl + Enter ดูผล
การประยุกต์ การสร้างกรอบลักษณะต่าง ๆ

ตัวอย่างที่ 12 การสร้างปุ่มควบคุม

  • Print
  • Email
Category: Uncategorised
Published on Monday, 02 September 2013 21:43
Written by Nualnada S.
Hits: 157
แนวคิด การสร้างปุ่มควบคุมการทำงาน
โจทย์ สร้างปุ่ม PLAY และ STOP เพื่อให้รถวิ่งและหยุดในตำแหน่งที่ต้องการ
วิธีการ
  1. เปิดโปรแกรม Flash CS5.5 > Create New > ActionScript 2.0
  2. บันทึกแฟ้มข้อมูลชื่อ control
  3. ที่ Layer 1 วาดภาพวัตถุที่จะให่เคลื่อนที่
  4. ใน ที่นี้สร้าง 2 Layer  คือ BG และ CAR เพื่อวางภาพพื้นหลัง และวัตถุที่จะวิ่ง และกำหนดลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุตามต้องการ ตัวอย่าง
  5. การสร้างปุ่ม ที่เมนู Insert>New Symbol>Button ตั้งชื่อ start_button
  6. การทำงานจะเข้าสู่ หน้าต่าง start_button จะเห็นว่า ที่ Timeline มีลักษณะ
  7. ณ ตำแหน่ง Up ให้สร้างวงกลม สีเขียว  โดยกำหนดตำแหน่ง และขนาด ดังนี้
  8. คลิกขวา ณ ตำแหน่ง Down  เลือก Insert keyframe ขยายขนาดวงกลม สีเขียว เพิ่มขึ้น 20% โดยกำหนดตำแหน่งเดิม
  9. ที่ Scene 1 ทำซ้ำข้อ 5 – 8 โดยกำหนดชื่อปุ่ม stop_button ลงสีแดง
  10. ที่ Layer 1 ของ Scene 1 วาง animation ตามต้องการ
  11. เพิ่ม layer ใหม่ เหนือ Layer 1 ลากปุ่มที่สร้างไว้ จาก LIBRARY มาวางที่ Stage
  12. คลิกเลือกปุ่ม start_button กด F9 พิมพ์
  13. คลิกเลือกปุ่ม stop_button กด F9 พิมพ์
  14. ทดลองใช้งาน
การประยุกต์ สามารถใช้ได้กับงานที่ต้องการปุ่มควบคุมการทำงาน

ตัวอย่างที่ 9 วัตถุหลายตัวเคลื่อนที่พร้อมกัน

  • Print
  • Email
Category: Uncategorised
Published on Monday, 02 September 2013 20:31
Written by Nualnada S.
Hits: 152
แนวคิด ต้องการให้วัตถุหลาย ๆ ตัวเคลื่อนที่พร้อม ๆ กัน เช่นล้อรถหมุน ขณะที่รถวิ่งไป
หลัก การ ต้องสร้างวัตถุ แยกออกเป็น ชิ้นส่วนย่อย และทำให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ เคลื่อนไหว จากนั้นจึงนำมาประกอบกัน และนำส่วนประกอบที่สำเร็จแล้วมาวิ่งบน Stage
โจทย์ คนกำลังขี่จักรยาน
วิธีการ
  1. เปิดโปรแกรม Flash CS5.5 > Create New > ActionScript 2.0
  2. บันทึกแฟ้มข้อมูลชื่อ bike
  3. ภาพที่ต้องเตรียม และ Import ไว้ที่ LIBRARY คือ ภาพ MAN BIKE WHEEL และ stand  ดังภาพตัวอย่าง 
  4. ณ Scene 1 เปลี่ยนชื่อ Layer 1 เป็น road วางภาพ ดังตัวอย่าง บน stage
  5. Insert>New Symbol>Movie Clip ให้ชื่อ wheel
  6. การทำงานจะเข้าสู่หน้าต่างการสร้าง Movie Clip>wheel
  7. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag ภาพ wheel ที่เตรียมไว้ใน LIBRARY มาวาง
  8. ณ เฟรม 25 ของ Layer 1 ให้กด F6
  9. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่สีเทาระหว่าง เฟรมที่ 1 – 25 เลือก Create classic tween
  10. ที่ PROPERTY>TWEENING กำหนด                                                                                                     ดังนี
  11. ลอง เลือน Playhead จะพบการเคลื่อนที่ในลักษณะ                                                                                    ดังนี้
  12. Insert>New Symbol>Movie Clip ให้ชื่อ stand
  13. การทำงานจะเข้าสู่หน้าต่างการสร้าง Movie Clip>stand
  14. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag ภาพ standที่เตรียมไว้ใน LIBRARY มาวาง
  15. ใช้วิธีการในข้อ 8 – 10 และลองลองเลือน Playhead จะพบการเคลื่อนที่ในลักษณะ                                  ดังนี้
  16. Insert>New Symbol>Movie Clip ให้ชื่อ MAN
  17. การทำงานจะเข้าสู่หน้าต่างการสร้าง Movie Clip>MAN
  18. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag ภาพ bike ที่เตรียมไว้ใน LIBRARY มาวาง
  19. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag ภาพ man ที่เตรียมไว้ใน LIBRARY มาวาง
  20. ลักษณะของผลลัพธ์ของการทำงาน ข้อ 18 – 19 จะเป็น                                                                         ดังนี้
  21. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag movie clip wheel จาก LIBRARY มาวาง และปรับให้ล้ออยู่ด้านหลัง โดยใช้ Modify>Arrange>Send to back ได้ภาพลักษณะ                                                           ดังนี้
  22. ทำลักษณะเดียวกันทั้ง 2 ล้อ
  23. การ ทำงานที่ได้ จะมีลักษณะ                                                                                                                   ดังนี้
  24. ณ เฟรม 1 ของ Layer 1 ให้ Click and drag movie clip stand จาก LIBRARY มาวาง กำหนดตำแหน่งให้เหมาะสม การทำงานที่ได้ จะมีลักษณะ                                                                                                   ดังนี้
  25. ย้ายกลับมาทำงานที่ Scene 1
  26. เพิ่ม Layer RUN เหนือ Layer Road
  27. ณ เฟรม 1 ของ Layer RUN ให้ Click and drag > movie clip > MAN วาง ณ จุดต้นถนน
  28. ณ เฟรม 50 ของ Layer RUN ให้กด F6 ย้าย movie clip ที่ปรากฏไปวางที่ปลายถนน
  29. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่สีเทาระหว่าง เฟรมที่ 1 – 50 เลือก Create classic tween
  30. Ctrl+Enter เพื่อดูผลลัพธ์
  31. การประยุกต์ การเคลื่อนที่ของวัตถุหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน
Share:

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Disqus Shortname

Comments system

ซ่อมคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ บางกะปิ 095-954-4524

ขับเคลื่อนโดย Blogger.

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

Blog Archive

Post Top Ad

คลังบทความของบล็อก

Author Details

Menu - Pages

Business

Random Posts

Recent

Popular

Blog Archive